วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 16

วันที่ 6 ตุลาคม 2553

สอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553

-ในรายวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



-สะท้อนอาจารย์
-สิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 1

วันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่15

วัน พุธ ที่ 29 กันยายน 2553




ส่งข้อสอบเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์


เนื้อหาการสอนในวันนี้


- อาจารย์อธิบายเพื่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข และใส่แหล่งอ้างอิงด้วย


- อาจารย์สอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาตร์












บันทึกครั้งที่14

วันที่ 22 กันยายน 2553
สรุปงานแผนผังที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน
การจัดโต๊ะ เก้าอี้ในรูปแบบของเกือกม้า
หรือปากชามการจัดที่นั่งแบบนี้ ช่วยในการเรียนการสอน เช่นการทดลอง เด็กได้เรียนรู้จากการจับ และปฏิบัติ
สรุปองค์ประกอบของการเขียนแผนผัง
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การดิความสัมพันธ์ของ 2อย่างเข้าด้วยกัน การสังเกต ,การวัด จำแนก ,มิติเวลา
กิจกรรมศิลปะไม่ควรใช้ดินสอเพราะ จะทำให้เด็กไม่มีความเชื่อมั่น
หมายเหตุ แจกแบบทดสอบให้ทำ ส่งอาทิตย์หน้า

วันศุกร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่13

วันพุธ ที่ 15 กันยายน 2553

มีการนำเสนอ mind map องค์ความรู้ใหม่ (ต่อ)

จากสัปดารห์ที่แล้ว มี 3 กลุ่ม เรื่อง สัตว์ ผลไม้ ผัก

กลุ่มเราได้เรื่อง ผัก

มีการเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ ปรับปรุงให้สมบูรณ์และให้สอดคล้องกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่12

วันพุธ ที่ 8 กันยายน 2553

นำเสนอผลการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์

ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

กลุ่ม 1 หน่วยสัตว์



กลุ่ม 2 หน่วยผัก



กลุ่ม 3 หน่วยผลไม้




กลุ่ม 4 หน่วยร่างกาย






บันทึกครั้งที่11

วันพุธที่ 1 กันยายน 2553.

อาจารย์ให้ไปจัดกิจกรรมใน วันศุกร์ที่ 3 กันยายน 2553.

ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ได้จัดงานวิทยาศาสตร์หรรษา

นักศึกษาชั้นปีที่3. ได้ลงไปจัดกิจกรรมให้แก่เด็กๆด้วยประกอบด้วย 4 ฐาน

1.มหัศจรรย์ของน้ำ 2.ความลับของแสง 3.อากาศ และ 4.เสียง






บันทึกครั้งที่10

วันพุธที่ 25 สิงหาคม 2553.

นำเสนอเกี่ยวกับสื่อทางวิทยาศาสตร์ ทีละกลุ่ม พร้อมอธิบายการเล่น

ประกอบด้วยเรื่อง... มหัศจรรย์ของน้ำ ,ความลับของแสง , อากาศ และ "เสียง"









วันจันทร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่9

วันอังคารที่17 ถึง วันพุธที่ 18 สิงหาคม 2553.

นักศึกษาชั้นปีที่ 3.และชั้นปีที่ 4.

ไปเข้าค่ายและศึกษาดูงานที่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี










































บันทึกครั้งที่8

(เนื่องจากเป็นสับดาห์สอบกลางภาค..... ค่ะ)

วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่7

วันพุธที่ 4 สิงหาคม 2553

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก..

มีกิจกรรมบายศรีของสาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย....

วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่6


วันพุธที่ 28 กรกฏาคม 2553

[ไม่ได้มาเรียนเนื่องจากไม่สบายค่ะ! ]
แต่ได้ติดตามการเรียนจากเพื่อน

สรุปการเรียน

อาจารย์ให้ชมวิดีทัศน์ เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการทดลองของน้ำ
1.เป็นการทดลองผลไม้ ในการทดลองนี้ให้เด็กๆเป็นผู้สังเกต โดยมีการใช้คำถามกระตุ้นให้เห็นถึงการเก็บกักน้ำไว้บนโหนกของอูฐเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตในทะเลทรายและการเก็บน้ำของต้นกระบองเพชร

2.เป็นการทดลองน้ำแข็ง (น้ำเปลี่ยนสถานะ)เกิดการควบแน่น ซึ่งในการทดลองนี้ยังเป็นการเชื่อมโยง

บันทึกครั้งที่5



กลุ่มที่ 1
สมาชิกประกอบด้วย จินห์นิภา(บิว) จินตนา(ทราย) ชญานิศ(ตาต้า) จันทร์จีรา(ยาย่า)และน้ำฝน(ฝน)

โครงการ...กิจกรรมตกแต่งถุงผ้าลดโลกร้อน
การสะท้อนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนกับอาจารย์
1. เนื้อหาเยอะ ควรทำเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐาน
2. ตัวหนังสือในpowerpoint เล็กจนเกินไป
3. ถ้าหากเพิ่มเติมคลิปวีดีโอในการดำเนินเรื่องจะทำให้เกิดความน่าสนใจมากขึ้น
4. เรื่องของการแสดงบทบาทสมมุติ ควรหาจุดโฟกัสของโคงการคือ เมื่อคนใช้ถุงพลาสิติกจำนวนมาก>ก็จะกำจัดยาก>ดังนั้นจะทำอย่างไรให้เกิดความตระหนักแล้วใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก
5. เรื่องของงบประมาณ 3ด้าน
กลุ่มที่2
โครงการ...กิจกรรมทำกระถางต้นไม้จากขวดน้ำ
การสะท้อนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนกับอาจารย์
1.ไม่มีแหล่งข้อมูล ภาพที่สื่อออกมาไม่จัด
2การใช้สื่อไม่เหมาะสม
3.การเชื่อมโยงไม่สอดคล้องกับตัวกิจกกรม
กลุ่มที่3
โครงการ..... ขยะมหัศจรรย์
การสะท้อนความคิกเห็นระหว่างเพื่อนกับอาจารย์
1. ตัวหนังสื่อเล็ก
2.ภาพพื้นหลังมืดไป ทำให้ดูไม่ชัดเจน
3.แหล่งข้อมูลไม่มี
4.ในเนื้อหาไม่ตรงประเด็น เช่นวิธีการไม่เชื่อมโยง
กลุ่มที่4
โครงการ

วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่4

แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอโครงการได้แก่
กลุ่มที่1. ซูนีตา โครงการการประดิษฐ์กระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก
กลุ่มที่2. น้ำฝน โครงการแม่ลูกระบายสีถุงผ้าช่วยลดภาวะโลกร้อน
กลุ่มที่3. เพ็ญศรี โครงการลดภาวะโลกร้อนของเด็กปฐมวัย
กลุ่มที่4. ศุภาพร โครงการถังขยะอัจฉริยะ
กลุ่มที่5. สุพัตรา โครงการประดิษฐ์ตระกร้าจากกล่องนม


การบ้าน
1.นำโครงการไปปรับปรุง
2. ให้นักศึกษาคิดและประดิษฐ์ชิ้นงาน "ศิลปะสอนวิทยาศาสตร์"มาเสนอคนละ1ชิ้นส่งในสัปดาห์ถัดไป
3.นัดหมายการเรียนในครั้งต่อไปเวลา 9.00 น.

วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่3

วันที่ 7 / ก.ค. /พ.ศ. 255

1.ส่งตัวแทนออกไปนำเสนอกิจกรรมภาวะโลกร้อน
กลุ่มอายุ 4 ขวบ เรื่อง ถุงผ้าลดภาวะโลกร้อน
กลุ่มอายุ 3 ขวบ เรื่อง ขยะรีไซเคิล
กลุ่มอายุ 5 ขวบ เรื่อง การเรียงภาพการตัดต้นไม้ทำลายป่า
กลุ่มอายุ 4 ขวบ เรื่อง ชุดจากถุงขนม รองเท้าจากขวดน้ำ
กลุ่มอายุ 5 ขวบ เรื่อง การเก็บขยะ การแยกขยะ
2. จากนั้นอาจารย์สรุปแต่ละกิจกรรมที่ได้นำเสนอไปแต่ละกลุ่ม
3. อาจารย์สั่งงานแต่ละกลุ่มให้ไปคิดโครงการและวิธีการทำโครงการแล้วนำสัปดาห์หน้า

วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่2

วันที่ 30 เดือนมิถุนายน 2553
วิทยาศาสตร์ คือ
- ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง
- ความพยายามของมนุษย์เช่นนี้ติดตัวมาตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พวกเขาเจอ และบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะให้คำตอบ
- การทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง โดยการสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พวกเขาเจอ ช่วยเชื่อมโยงเซลล์สมองของเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็กๆเพราะส่งเสริมให้เด็กได้คิดเป็นการเตรียมเด็กให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นในวัยที่สูงขึ้นทฤษฎีสติปัญญาของเพียเจย์ กล่าวว่า พัฒนาการเกิดขึ้นจากการทำงานของสมอง คือ ซึมซับข้อมูลและปรับเป็นความรู้ใหม่ เพื่อความอยู่รอดถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ
ธรรมชาติของเด็ก
- ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขา โดยการไม่ให้ความสนใจกับคำถาม
- ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
- ไม่จัดประสบการณ์เรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสมทบทวนบทบาทของผู้ใหญ่
- เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการให้ความสนใจกับคำถาม
- ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
- จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
- ครูและผู้ปกครองต้องยอมรับในเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้
- ครูต้องแม่นยำในพัฒนาการเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก (สามารถดูคุณลักษณะตามวัยได้ที่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546)

สรุปการเรียนในวันนี้

ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์เบื้องต้นของเด็กว่ามันง่ายหรือมันยากสำหรับเด็กปฐมวัย การเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กสำคัญมากเพราะเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับชิวิตประจำวันของตัวเด็กเอง เช่น การสังเกต การลงมือปฎิบัติทำให้เด้กได้ค้นพบสิ่งใหม่ๆ ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และยังช่วยให้เราทราบวิทยาศาสตร์เชื่อมโยงกับการพัฒนาการของเด็กทางด้านสติปัญญา


สรุปความคิดแบบกลุ่ม

บันทึกครั้งที่1

วันที่ 23 เดือนมิถุนายน 2553
เข้าร่วมกิจกรรมการรับน้องมหาวิทยาลัย